|
|
ประวัติตำบล |
|
|
 |
|
เดิมตำบลคุยม่วงมีชื่อเรียกว่า ตำบลชุมแสงสงคราม มีทั้งหมด 17 หมู่บ้าน และได้แยกออกมาตั้งตำบลใหม่ คือตำบลคุยม่วง |
|
ที่ตั้ง |
|
|
 |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลคุยม่วง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอบางระกำ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอบางระกำไปตามทางหลวงหมายเลข 1239 อำเภอบางระกำ - สุโขทัย เป็นระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 80.94 ตารางกิโลเมตร หรือ 50,587 ไร่ |
|
|
|
ประวัติหน่วยงาน |
|
|
 |
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลคุยม่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านคุยม่วง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ได้รับการยกฐานะจากตำบลขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 โดยได้รับการยกฐานะตามประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอนที่ 9 ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2539 ทำให้มีผลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลคุยม่วง เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2539 และในปัจจุบันมีเขตความรับผิดชอบทั้งหมด 12 หมู่บ้าน |
|
|
|
อาณาเขตติดต่อ |
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
อบต.กง |
อ.กงไกลาศ |
จ.สุโขทัย |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
อบต.ชุมแสงสงคราม, อบต.นิคมพัฒนา |
อ.บางระกำ |
จ.พิษณุโลก |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
อบต.ชุมแสงสงคราม |
อ.บางระกำ |
จ.พิษณุโลก |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
อบต.หนองตูม |
อ.กงไกลาศ |
จ.สุโขทัย |
|
|
อบต.กง อ.กงไกลาศ จ.สุโขทัย |
 อบต.หนองตูม อ.กงไกลาศ จ.พิษณุโลก |
|
อบต.ชุมแสงสงคราม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
 |
อบต.ชุมแสงสงคราม, อบต.นิคมพัฒนา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก |
|
|
ภูมิประเทศ |
|
|
 |
|
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ของตำบลคุยม่วง เป็นที่ราบลุ่มเหมาะสำหรับการเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว ถั่วเหลือง ข้าวโพดและอ้อย โดยพื้นที่บางส่วนของหมู่ที่ 6 บ้านหนองขานาง หมู่ที่ 7 บ้านเรียงกระดก และหมู่ที่ 9 บ้านทุ่งพัฒนา จะประสบกับปัญหาอุทกภัยเป็นประจำทุกปี เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้กับแม่น้ำยม และตกอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 3 -4 เดือน |
|
ภูมิอากาศ |
|
|
 |
|
เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู |

 |
ฤดูร้อน |
เริ่มประมาณเดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน |

 |
ฤดูฝน |
เริ่มประมาณเดือนกรกฏาคม ถึงเดือนตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว |
เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
อาชีพประชากร |
|
|
 |
|
|
|

 |
การเกษตร |
|
ในปัจจุบันประชากรตำบลคุยม่วงส่วนมาก ประกอบอาชีพทางการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ การทำนา ทำไร่ ทำสวน นอกจากนี้ยังประกอบอาชีพ ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป |

 |
การประมง |
|
เกษตรที่ทำอาชีพประมงจำนวน 1 ราย ได้แก่ เลี้ยงปลา เป็นต้น |
|
|
|
จำนวนประชากร |
|
|
 |
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 7,166 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 3,530 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.26 |

 |
หญิง จำนวน 3,636 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.74 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,430 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 88.53 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
เขตการปกครอง |
|
|
|
|
|
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
1 |
บ้านคุยม่วง |
258 |
249 |
507 |
211 |
2 |
บ้านคุยขวาง |
369 |
390 |
759 |
289 |
3 |
บ้านเกาะกลางนา |
304 |
306 |
610 |
193 |
4 |
บ้านดง |
290 |
311 |
601 |
228 |
5 |
บ้านโปร่งกระโดน |
350 |
342 |
692 |
251 |
6 |
บ้านหนองขานาง |
294 |
310 |
604 |
217 |
7 |
บ้านเรียงกระดก |
329 |
312 |
641 |
205 |
8 |
บ้านทุ่งสาวน้อย |
203 |
210 |
413 |
116 |
9 |
บ้านทุ่งพัฒนา |
211 |
225 |
436 |
116 |
10 |
บ้านนางพญา |
319 |
353 |
672 |
219 |
11 |
บ้านยิ่งเจริญ |
377 |
370 |
747 |
238 |
12 |
บ้านคุยม่วงมีสุข |
226 |
258 |
484 |
147 |
รวม |
3,530 |
3,636 |
7,166 |
2,430 |
|
|